͸Ժ

ผู้เขียน หัวข้อ: เมื่อครั้นพระมรณภาพทรัพย์สินระหว่างสมณเพศตกทอดแก่ใครบ้าง  (อ่าน 65 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ Fern751

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 15944
  • การ์ม่า: +0/-0
    • ดูรายละเอียด
ทนายเชียงใหม่ จะนำเสนอข้อเท็จจริงดังนี้การจัดการทำศพเป็นกิจการซึ่งมิอาจ เกี่ยวกับทรัพย์สินของผู้ตาย การจะทำให้บังเกิดผลบังคับได้ตามกฎหมายต้องแสดงเจตนาโดยทำเป็นพินัยกรรมตาม ป.พ.พ. มาตรา 1646 แต่คำสั่งเสียด้วยวาจาของผู้ตาย ที่ให้โจทก์เป็นผู้จัดการทำศพไม่ เข้าหลักเกณฑ์การทำพินัยกรรมด้วยวาจาตาม ป.พ.พ. มาตรา 1663 ย่อมมิ บังเกิดผลบังคับได้ตามกฎหมาย เมื่อเจ้ามรดก มิได้ทำพินัยกรรมตั้งผู้จัดการมรดก และทรัพย์สินของผู้ถึงแก่ความตาย ได้มาในระหว่างเวลาที่อยู่ในสมณเพศ ย่อมตกเป็นสมบัติของวัดจำเลยที่ 1 ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1623 ส่วนโจทก์และน้องคนอื่นของผู้มรณภาพ  แม้เป็นผู้มีสิทธิรับมรดก โดยธรรมในลำดับที่ 3 ตามมาตรา 1629 (3) ก็ไม่ มีสิทธิรับมรดกของผู้ถึงแก่ความตาย  ย่อมไม่ อาจมอบหมายตั้งให้บุคคลใดเป็นผู้จัดการทำศพเจ้ามรดก  การที่จำเลยที่ 1 ซึ่งเป็นบุคคลผู้ได้รับทรัพย์มรดกโดยสิทธิโดยธรรมตามผลของมาตรา 1623 อันเป็นจำนวนมากที่สุด จึงเป็นผู้มีอำนาจหน้าที่จัดการทำศพเจ้ามรดก ตาม ป.พ.พ. มาตรา 1649 วรรคสอง จำเลยที่ 1 จึงมิ ต้องส่งมอบศพผู้ถึงแก่ความตาย แก่โจทก์บทความจาก ทนายความเชียงใหม่