บันทึกข้อตกลงระหว่าง{โจทก์|ผู้ฟ้องคดี|ผู้ฟ้อง]และ{จำเลย|ผู้ถูกฟ้องคดี|ผู้ถูกฟ้อง]เป็นสัญญาอย่างหนึ่งที่มีผลผูกพันกัน และคู่สัญญามีสิทธิเลิกสัญญาหรือไม่ ย่อมเป็นไปตามข้อสัญญาหรือโดยบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ดังที่บัญญัติไว้ใน ป.พ.พ. มาตรา 366 และมาตรา 386 ข้อความในบันทึกข้อตกลงมีสาระสำคัญสรุปได้ว่า {โจทก์|ผู้ฟ้องคดี|ผู้ฟ้อง]มีความสนใจที่จะลงทุนในโครงการอาคารพักอาศัยให้เช่าของ{จำเลย|ผู้ถูกฟ้องคดี|ผู้ถูกฟ้อง]ซึ่งประกอบด้วยที่ดิน 2 แปลง โดยมีเงื่อนไขว่า{โจทก์|ผู้ฟ้องคดี|ผู้ฟ้อง]จะต้องเข้าศึกษาข้อมูลและตรวจสอบรายละเอียดต่าง ๆ ของโครงการเพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจลงทุนต่อไปเสียก่อน ซึ่งในข้อ 1.3 ระบุว่า หากผลการศึกษาโครงการเป็นที่น่าพอใจแก่{โจทก์|ผู้ฟ้องคดี|ผู้ฟ้อง] คู่สัญญาจะทำการเจรจาทำสัญญาจะซื้อจะขายโครงการอาคารพักอาศัยให้เช่าต่อไป และข้อ 1.4 ระบุว่า {จำเลย|ผู้ถูกฟ้องคดี|ผู้ถูกฟ้อง]ตกลงให้{โจทก์|ผู้ฟ้องคดี|ผู้ฟ้อง]มีสิทธิยกเลิกบันทึกข้อตกลงฉบับนี้ได้ หากผลการศึกษาโครงการพบว่าไม่เป็นที่น่าพอใจแก่{โจทก์|ผู้ฟ้องคดี|ผู้ฟ้อง]ในด้านใด ๆ ดังนี้ บันทึกข้อตกลงดังกล่าวให้สิทธิ{โจทก์|ผู้ฟ้องคดี|ผู้ฟ้อง]ในการเลิกบันทึกข้อตกลงไว้ โดยอาศัยความพึงพอใจของ{โจทก์|ผู้ฟ้องคดี|ผู้ฟ้อง]ในการเข้าทำสัญญาจะซื้อจะขายโครงการเป็นสำคัญ โดยเฉพาะในข้อ 4 ที่ระบุไว้อย่างชัดเจนว่า เงินจำนวน 35,000,000 บาท ที่{โจทก์|ผู้ฟ้องคดี|ผู้ฟ้อง]มอบให้{จำเลย|ผู้ถูกฟ้องคดี|ผู้ถูกฟ้อง]ไว้ เป็นเงินประกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นจากการที่{โจทก์|ผู้ฟ้องคดี|ผู้ฟ้อง]เข้าศึกษาโครงการ ในกรณีที่ผลการศึกษาโครงการไม่เป็นที่น่าพอใจและ{โจทก์|ผู้ฟ้องคดี|ผู้ฟ้อง]แจ้งไม่ประสงค์จะเข้าลงทุน ให้ถือว่าบันทึกข้อตกลงฉบับนี้เป็นอันสิ้นสุดลงทันที โดยคู่สัญญาตกลงจะไม่เรียกร้องสิทธิหรือค่าเสียหายใด ๆ ต่อกัน และ{จำเลย|ผู้ถูกฟ้องคดี|ผู้ถูกฟ้อง]ต้องคืนเงินประกันให้แก่{โจทก์|ผู้ฟ้องคดี|ผู้ฟ้อง]ภายใน 7 วัน ประกอบกับในรายงานประชุมคณะกรรมการของ{โจทก์|ผู้ฟ้องคดี|ผู้ฟ้อง]มีข้อความระบุชัดว่า {โจทก์|ผู้ฟ้องคดี|ผู้ฟ้อง]ยังไม่ได้ตกลงทำสัญญาซื้อขายกับ{จำเลย|ผู้ถูกฟ้องคดี|ผู้ถูกฟ้อง] และคณะกรรมการของ{โจทก์|ผู้ฟ้องคดี|ผู้ฟ้อง]ขอเสนอให้เปลี่ยนจากการวาง “เงินมัดจำ” ตามที่{จำเลย|ผู้ถูกฟ้องคดี|ผู้ถูกฟ้อง]เสนอมา เป็นการวาง “เงินประกัน” ความเสียหายในการเข้าศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการแทน แสดงให้เห็นว่า หาก{โจทก์|ผู้ฟ้องคดี|ผู้ฟ้อง]จะซื้อโครงการของ{จำเลย|ผู้ถูกฟ้องคดี|ผู้ถูกฟ้อง] จะต้องมีการเจรจาตกลงในข้อสาระสำคัญกันให้ชัดเจนอีกครั้งหนึ่งต่อไป ตามนัย ป.พ.พ. มาตรา 366 ดังนี้ เมื่อปรากฏว่าโครงการของ{จำเลย|ผู้ถูกฟ้องคดี|ผู้ถูกฟ้อง]ไม่เหมาะสมที่จะลงทุน เป็นเหตุให้คณะกรรมการของ{โจทก์|ผู้ฟ้องคดี|ผู้ฟ้อง]ได้บอกเลิกบันทึกข้อตกลงไปยัง{จำเลย|ผู้ถูกฟ้องคดี|ผู้ถูกฟ้อง]พร้อมแจ้งให้คืนเงินประกัน 35,000,000 บาท จึงเป็นการใช้สิทธิเลิกบันทึกข้อตกลงตามที่กำหนดไว้ในบันทึกข้อตกลง หาใช่เป็นการใช้สิทธิเลิกตามอำเภอใจหรือใช้สิทธิโดยไม่สุจริตไม่ เมื่อสัญญาเข้าร่วมทุนหรือซื้อโครงการระหว่าง{โจทก์|ผู้ฟ้องคดี|ผู้ฟ้อง]กับ{จำเลย|ผู้ถูกฟ้องคดี|ผู้ถูกฟ้อง]ไม่ได้เกิดขึ้นโดยไม่ใช่ความผิดของ{โจทก์|ผู้ฟ้องคดี|ผู้ฟ้อง] และตามบันทึกข้อตกลงได้กำหนดไว้อย่างชัดแจ้งว่า{จำเลย|ผู้ถูกฟ้องคดี|ผู้ถูกฟ้อง]เพียงแต่คืนเงินประกันแก่{โจทก์|ผู้ฟ้องคดี|ผู้ฟ้อง]ภายใน 7 วัน โดยไม่มีดอกเบี้ย {จำเลย|ผู้ถูกฟ้องคดี|ผู้ถูกฟ้อง]จึงไม่มีสิทธิริบเงินประกันดังกล่าว เมื่อ{โจทก์|ผู้ฟ้องคดี|ผู้ฟ้อง]มีหนังสือทวงถามให้{จำเลย|ผู้ถูกฟ้องคดี|ผู้ถูกฟ้อง]คืนเงินประกันภายใน 7 วัน {จำเลย|ผู้ถูกฟ้องคดี|ผู้ถูกฟ้อง]ได้รับหนังสือเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2559 {จำเลย|ผู้ถูกฟ้องคดี|ผู้ถูกฟ้อง]ไม่คืนเงินประกันภายในกำหนด จึงตกเป็นผู้ผิดนัดตั้งแต่วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2559 และต้องรับผิดชำระดอกเบี้ยระหว่างผิดนัดร้อยละ 7.5 ต่อปี แก่{โจทก์|ผู้ฟ้องคดี|ผู้ฟ้อง]ตาม ป.พ.พ. มาตรา 224 วรรคหนึ่ง สำหรับค่าเสียหาย 10,000,000 บาท ที่{โจทก์|ผู้ฟ้องคดี|ผู้ฟ้อง]อ้างว่าเป็นค่าเสียหายที่{จำเลย|ผู้ถูกฟ้องคดี|ผู้ถูกฟ้อง]ไม่ยอมคืนเงินประกัน ทำให้{โจทก์|ผู้ฟ้องคดี|ผู้ฟ้อง]ไม่สามารถนำเงินดังกล่าวไปลงทุนในโครงการอื่นนั้น ตามบันทึกข้อตกลง ข้อ 4 ได้กำหนดไว้อย่างชัดเจนว่า ในกรณีที่{โจทก์|ผู้ฟ้องคดี|ผู้ฟ้อง]ไม่ประสงค์จะเข้าลงทุนในโครงการของ{จำเลย|ผู้ถูกฟ้องคดี|ผู้ถูกฟ้อง] ให้ถือว่าบันทึกข้อตกลงฉบับนี้เป็นอันสิ้นสุดลงทันที {จำเลย|ผู้ถูกฟ้องคดี|ผู้ถูกฟ้อง]เพียงแต่คืนเงินประกันให้แก่{โจทก์|ผู้ฟ้องคดี|ผู้ฟ้อง]ภายใน 7 วันเท่านั้น โดยคู่สัญญาจะไม่เรียกร้องสิทธิหรือค่าเสียหายใด ๆ ต่อกันอีก ดังนั้น {จำเลย|ผู้ถูกฟ้องคดี|ผู้ถูกฟ้อง]จึงไม่ต้องรับผิดชำระค่าเสียหายแก่{โจทก์|ผู้ฟ้องคดี|ผู้ฟ้อง]
ทนายเชียงใหม่ทนายความเชียงใหม่