͸Ժ

ผู้เขียน หัวข้อ: เฟิร์สช้อยส์ รุกตลาดฟิลิปปินส์ เล็งปล่อยกู้บนดิจิทัล  (อ่าน 113 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ Fern751

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 15944
  • การ์ม่า: +0/-0
    • ดูรายละเอียด


นางสาวพัทธ์หทัย กุลจันทร์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท  อยุธยา แคปปิตอล เซอร์วิสเซส จำกัด  หรือ ผู้ให้บริการสินเชื่อส่วนบุคคลและบัตรเครดิต ภายใต้แบรนด์ “กรุงศรีเฟิร์สช้อยส์” เปิดเผยว่า บริษัทมีแผนขยายธุรกิจสินเชื่อผ่อนชำระค่าสินค้าในภูมิภาคอาเซียน( Lottovip  AEC) พร้อมกับธนาคารกรุงศรีอยุธยา เนื่องจาก ประเทศกลุ่มอาเซียนในมีเศรษฐกิจเติบโตอย่างรวดเร็ว โดยอาศัยความเชี่ยวชาญและแนวทางในการดำเนินธุรกิจที่ดีที่สุดผ่านแฟลตฟอร์มธนาคารเพื่อรายย่อยของประเทศไทยและการเป็นธนาคารพาณิชย์ในประเทศเพื่อนบ้าน ก่อนหน้านี้ขยายไปในลาวและกัมพูชาแล้ว 

 ล่าสุด บริษัทได้ร่วมเข้าไปขยายตลาดสินเชื่อผ่อนชำระค่าสินค้า ในฟิลิปปินส์ ด้วย  หลังจากธนาคารกรุงศรี เข้าถือหุ้น 50% ในบริษัท เอสบี ไฟแนนซ์ คอมปานี อิงค์ (SBF) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของ ในเครือซีเคียวริตี้ แบงก์ คอร์ปอเรชั่น (SBC) หนึ่งในธนาคารชั้นนำของสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ที่ให้บริการด้านสินเชื่อเพื่อผู้บริโภค


ทั้งนี้ กลุ่มธนาคารกรุงศรีฯ เตรียมนำเสนอสินเชื่อบุคคล  สินเชื่อคาร์ฟอร์แคช สินเชื่อเพื่อการผ่อนชำระสินค้า และสินเชื่อเช่าซื้อรถจักรยานยนต์ไปให้บริหาร คาดว่าจะเปิดตัวอย่างเป็นทางการในปลายปี 2564 โดยในส่วนสินเชื่อผ่อนชำระค่าสินค้า ขณะนี้อยู่ระหว่างพัฒนาผลิตภัณฑ์ คาดว่า จะออกผลิตภัณฑ์บัตรเครดิตที่ใช้ผ่อนชำระค่าสินค้าและเบิกเงินสดหรือสินเชื่อทูอินวัน เหมือนในไทยแต่จะทำในรูปแบบดิจิทัล 

“มองว่า ตลาดฟิลิปปินส์ยังมีโอกาสเติบโตสูง ด้วยประชากรส่วนใหญ่เป็นผู้บริโภควัยทำงาน และใช้โซเชียลมีเดียอย่างก้าวกระโดดมากกว่าในไทยทั้งชอปปิงออนไลน์และการใช้โมบายแบงกิ้ง  และปัจจุบันเริ่มกลับมาเปิดประเทศหลังผ่อนคลายคุมการแพร่ระบาดโควิด-19 มีการพักชำระหนี้ 2 รอบบัญชี ธุรกิจเริ่มฟื้นตัวและวอลุ่มสินเชื่อบุคคลเริ่มกลับมาแล้ว”  


นางสาวพัทธ์หทัย กล่าวว่า  การขยายธุรกิจในภูมิภาคอาเซียน ช่วยหนุนสร้างรายได้จากธุรกรรมดังกล่าวโตต่อเนื่องกลับมาที่กลุ่มธนาคารกรุงศรีอยุธยาในระยะยาว  เนื่องจากจังหวะนี้ถือว่าตอบโจทย์ลดข้อจำกัดตลาดในไทยมีผลกระทบจากการกำกับดูแลและสถานการณ์โควิด-19 แต่ต่างประเทศยังโตได้ในหลายส่วน  นอกจากนี้ยังมองว่า ธุรกิจประกันในAECขยายตัวสูงนำมาผูกกับผลิตภัณฑ์ของบริษัทได้  ซึ่งยังเป็นโอกาสในสร้างรายได้ค่าธรรมเนียมเพิ่มขึ้นด้วย